1. เพราะเหตุใดจึงต้องส่งกล้องโทรทรรศน์ขึ้นไปโคจรรอบโลกในการศึกษาวัตถุท้องฟ้าตอบ ข้อที่ 1 กล้องโทรทรรศน์ที่ติดตั้งอยู่บนพื้นโลกนั้นมีขีดจำกัดในการรับแสงจากอวกาศเพราะถูกชั้นบรรยากาศโลกดูดซับรังสีบางชนิดในอวกาศไป การใช้กล้องโทรทรรศน์บนพื้นโลกนั้นไม่สามารถมองไปได้ไกลในเทคโนโลยีในปัจจุบัน
ข้อที่ 2 กล้องโทรทรรศน์ที่ส่งขึ้นไปพร้อมยานอวกาศนั้น จะมีอุปกรณ์สำคัญติดตั้งไปกับกล้อง คือ ระบบคอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายภาพมุมกว้าง เครื่องตรวจวัดสเปกตรัม เครื่องปรับทิศทางของกล้อง ซึ่งข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากกล้อง จะทำให้เราได้เห็นรายละเอียดต่างๆ ของวัตถุท้องฟ้า ช่วยให้เกิดความเข้าใจถึงส่วนประกอบในระบบสุริยะ การกำเนิดของดาวฤกษ์ โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงของกาแล็กซี
2. ยานขนส่งอวกาศปล่อยดาวเทียมสื่อสารให้เข้าสู่วงโคจรได้อย่างไร
ตอบ ยานขนส่งอวกาศปล่อยดาวเทียมสื่อสารให้เข้าสู่วงโคจรได้ โดยให้อยู่เหนือผิวโลก 35,880 กิโลเมตร ในระดับนี้ดาวเทียมจะเคลื่อนที่รอบโลกเร็วเท่ากับโลกหมุนรอบตัวเอง ดาวเทียมสื่อสารจึงปรากฏอยู่ที่ตำแหน่งเดิมบนท้องฟ้าตลอดเวลา
3. ท่านคิดว่า การอาศัยอยู่ในอวกาศของมนุษย์อวกาศเป็นระยะเวลานานๆ มีผลกระทบต่อมนุษย์อวกาศเหล่านั้นได้อย่างไร
ตอบ การอาศัยอยู่ในอวกาศของมนุษย์อวกาศ ภายในสภาพแวดล้อมแห่งความถ่วงของอวกาศ นักบินอวกาศจะพยายามดำเนินชีวิตประจำวันให้เหมือนอยู่บนโลกมากที่สุด แต่เนื่องจากไม่ถูกดึงดูดจากแรงโน้มถ่วงของโลก จึงมีสภาพไร้น้ำหนัก การกิน การนอน และการออกกำลังกายจึงมีปัญหาและถ้าอยู่ในอวกาศ เป็นระยะเวลานานๆ จะมีผลต่อกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อทุกส่วนจะมีขนาดเล็กลง ระบบสูบฉีดโลหิต หัวใจทำงานช้าลง กระดูกจะมีความหนาแน่นน้อยลง กระดูกจึงเปราะและแตกหักง่าย
4. การสำรวจอวกาศมีผลดีและผลเสียต่อมนุษย์และต่อโลกอย่างไร
ตอบ การสำรวจอวกาศมีผลดีต่อมนุษย์และต่อโลกคือ ช่วยให้เกิดความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้
1. ส่วนประกอบในระบบสุริยะ
2. การกำเนิดของดาวฤกษ์
3. โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงของกาแล็กซี
4. วิวัฒนาการของเอกภพ
5. การกำเนิดของโลก
6. การป้องกันโลกไม่ให้เกิดอันตรายจากการชนของวัตถุในอวกาศ
7. ช่วยให้มนุษย์ค้นหาดาวดวงใหม่ที่เหมาะสมต่อการดำเนินชีวิต
ผลเสียที่มีต่อมนุษย์และต่อโลก
1. สิ้นเปลืองงบประมาณ
2. ใช้ทรัพยากรมหาศาลในการขึ้นท่องอวกาศในแต่ละครั้ง
3. เกิดอันตรายต่อมนุษย์ หากเกิดความผิดพลาด หรืออันตรายจากภายนอกอวกาศ
5. ถ้าต้องการส่งดาวเทียมให้โคจรรอบโลกที่ระดับความสูง 1000 กิโลเมตร ดาวเทียมต้องโคจรด้วยความเร็วเท่าไรจึงจะอยู่ในวงโคจรได้
ตอบ 7.351658552326815 กิโลเมตรต่อวินาที
6. ที่ระดับความสูงจากผิวโลก 3,620 กิโลเมตร ยานอวกาศจะต้องมีความเร็วเท่าไรจึงหลุดออกไปนอกโลกได้
ตอบ 8.931584405915896 กิโลเมตรต่อวินาที
วันจันทร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2554
แบบฝึกหัดดาราศาสตร์บทที่ 7
1. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่า ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์รุ่นหลัง
ตอบ เพราะว่า ดาวฤกษ์เกิดจากการยุบตัวของเนบิวลาที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของเนบิวลาเอง ทำให้ที่แกนกลางของเนบิวลาที่ยุบตัวลงนี้ จะมีอุณหภูมิสูงกว่าที่ขอบนอก เมื่ออุณหภูมิแกนกลางสูงมากขึ้น เป็นหลายแสนองศาเซลเซียส เรียกช่วงนี้ว่า “ดาวฤกษ์ก่อนเกิด” (protostar) หลัง จากที่ดวงอาทิตย์เพิ่งกำเนิดขึ้นมาจะคงสภาพที่ใหญ่กว่าปัจจุบันเล็กน้อย อุณหภูมิที่แกนกลางสูงขึ้นไปถึง 15 ล้านเคลวิน และปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ได้เริ่มต้นขึ้น หลอมนิวเคลียสไฮโดรเจนเป็นนิวเคลียสฮีเลียม เมื่อเกิดความสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงกับแรงดันของแก๊สร้อน ทำให้ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์สมบูรณ์ จึงกล่าวได้ว่า ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์รุ่นหลัง
2.ดวงอาทิตย์เกิดขึ้นได้อย่างไร และจะมีวิวัฒนาการอย่างไร
ตอบ ดวงอาทิตย์เกิดจากการยุบตัวของเนบิวลา ซึ่งการยุบตัวนี้เกิดจากแรงโน้มถ่วงของเนบิวลาเอง เมื่อแก๊สยุบตัวลง ความดันของแก๊สจะสูงขึ้น ผลที่ตามมา คือ อุณหภูมิของแก๊สจะสูงขึ้นที่บริเวณแกนกลางเป็นหลายแสนองศาเซลเซียส เรียกช่วงนี้ว่า “ดาวฤกษ์ก่อนเกิด” เมื่อแรงโน้มถ่วงถึงให้แก๊สยุบตัวลงไปอีก อุณหภูมิสูงขึ้นเป็น 15 ล้านเคลวิน ซึ่งเป็นอุณหภูมิสูงมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ (thermonuclear reaction) หลอม นิวเคลียสไฮโดรเจนเป็นนิวเคลียสฮีเลียม เมื่อเกิดความสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงกับแรงดันของแก๊สร้อนจะทำให้ดวง อาทิตย์มีความสมบูรณ์ขึ้น
วิวัฒนาการ ของดวงอาทิตย์มีดังนี้ คือ เมื่อธาตุไฮโดรเจนที่ใช้เป็นเชื้อเพลงเหลือน้อย แรงโน้มถ่วง เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์สูงกว่าแรงดัน ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่าเดิมเป็น 100 ล้านเคลวิน จนเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์หลอมรวมนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมเป็น นิวเคลียสของคาร์บอน ในขณะเดียวกันไฮโดรเจนที่อยู่รอบนอกแกนฮีเลียม มีอุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านเคลวิน จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์หลอมไฮโดรเจนเป็นฮีเลียมครั้งใหม่ได้ พลังงานออกมาอย่างมหาศาล ทำให้ดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็น 100 เท่าของขนาดปัจจุบัน เมื่อผิวด้านนอกขยายตัว อุณหภูมิผิวจะลดลง สีจะเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีแดง เรียกว่า ดาวยักษ์แดง ซึ่งมีชีวิตค่อนข้างสั้น ที่แกนกลางของดวงอาทิตย์ซึ่งอยู่ในสภาพดาวยักษ์แดง ในช่วงท้ายของชีวิตจะไม่เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ที่หลอมฮีเลียมเป็น คาร์บอนอีกต่อไป แรงโน้มถ่วงจะทำให้แกนกลางของดาวยักษ์แดงยุบตัวลง กลายเป็นดาวแคระขาว ขณะเดียวกันกับที่แกนกลางเกิดการยุบตัว มวลของผิวดาวรอบนอกไม่ได้ยุบเข้ามารวมด้วย จึงมีชั้นของแก๊สหุ้มอยู่รอบ เกิดเป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ ซึ่งจะเคลื่อนห่างออกไปจากดาวแคระขาว กระจายออกไปในอวกาศ
3.เพราะเหตุใดโลก ดาวศุกร์ ดาวอังคาร และดาวพุธ จึงถูกจัดเป็นดาวเคราะห์หิน และเกิดได้อย่างไร
ตอบ เพราะโลก ดาวศุกร์ ดาวอังคาร และดาวพุธ ต่างเป็นดาวเคราะห์ ที่มีพื้นผิวเป็นพื้นหินแข็งชัดเจน ดาวเคราะห์หินเกิดจากตอนที่ดาวเคราะห์เพิ่งกำเนิดขึ้นเมื่อ 4,600 ล้านปีมาแล้ว มีภูเขาน้ำแข็งและก้อนหินจำนวนมากที่เหลือจากการสร้างดวงอาทิตย์อยู่ใน บริเวณที่เป็นดาวเคราะห์หินในปัจจุบัน ต่อมาอีก 500 ล้านปี วัตถุก้อนใหญ่ก็ดึงก้อนเล็กเข้าหา เกิดการชนกันพอกพูนจนใหญ่โตขึ้น เศษที่เหลืออยู่มีจำนวนน้อยลง ขณะเดียวกันวัตถุที่ระเหยง่ายหรือเบา เช่น น้ำและไฮโดรเจน ก็ถูกพลังงานจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ผลักดันให้ออกไปอยู่ที่ชั้นนอกของระบบสุริยะ ดังนั้น ดาวเคราะห์ชั้นในจึงเป็นหิน
4.เพราะเหตุใดดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน จึงถูกจัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส และเกิดได้อย่างไร
ตอบ เพราะ มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สไฮโดรเจนหรือแก๊สแอมโมเนียและมีเทน ไม่มีพื้นผิวดาวชัดเจน ภายในดาวเคราะห์ยักษ์ เป็นแก๊สความดันสูงหรือแก๊สเหลว ซึ่งมักมีอุณหภูมิและความดันสูงมาก มีขนาดใหญ่ ดาวเคราะห์ยักษ์เกิดขึ้นเนื่องจากในขณะที่ระบบสุริยะกำลังเกิดขึ้นนั้น ดาวเคราะห์ยักษ์ขยายใหญ่ขึ้นมากกว่าดาวเคราะห์หิน ซึ่งอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ เพราะอยู่ในบริเวณที่เย็นกว่า ก้อนสารที่รวมกันอยู่ชั้นนอกของระบบสุริยะรวมถึงก้อนน้ำแข็งสกปรกและแก๊สที่ แข็งตัว เป็นส่วนหนึ่งของดาวเคราะห์ยักษ์ด้วย เมื่อเข้าไปใกล้ดวงอาทิตย์ ความร้อนจากดวงอาทิตย์จะทำให้สารที่ระเหยง่าย เช่น น้ำ ระเหยออกจากดาวเคราะห์ชั้นใน เหลือแต่ส่วนที่เป็นหินแข็งและโลหะ เมื่อวัตถุที่เป็นของแข็งในตอนเริ่มต้นมีขนาดใหญ่กว่าแรงโน้มถ่วงที่สูงของ ดาวที่กำลังโตขึ้น จึงดึงดูดเอาแก๊สจำนวนมากไว้เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของดาวเคราะห์ ทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นดาวเคราะห์ยักษ์
5.ดาวเคราะห์น้อยและดาวหาง อยู่บริเวณใดของระบบสุริยะ และเกิดได้อย่างไร
ตอบ ดาวเคราะห์น้อย จะโคจรอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ในระบบสุริยะ ดาวหางอยู่รอบนอกของระบบสุริยะ
ดาว เคราะห์น้อยเกิดจากเศษที่เหลือจากการพอกพูนของดาวเคราะห์หิน ถูกแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีขนาดใหญ่และเกิดมาก่อน ทำให้มวลสารในบริเวณแถบของดาวเคราะห์น้อยจับตัวกันมีขนาดใหญ่ไม่ได้ จึงปรากฏมีแต่ดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็กๆ จำนวนมาก
ดาว หาง เกิดจากเศษเหลือจากดาวเคราะห์ยักษ์ที่ประกอบด้วยก้อนน้ำแข็งและแก๊สแข็งตัว หลายชนิด รวมทั้งฝุ่นที่ปะปนอยู่ เมื่อก้อนน้ำแข็งนี้เข้าใกล้ดวงอาทิตย์จะได้รับรังสี ทำให้เกิดการระเหิดของวัตถุบางส่วน เกิดการพุ่งกระจายของธุลี และแก๊สออกมาจากนิวเคลียสหรือแกน เป็นส่วนหัวของดาวหางและส่วนหาง
6.การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์คืออะไร มีผลกระทบต่อโลกหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ปรากฏการณ์การระเบิดจ้าบนดวงอาทิตย์ (Solar Flare) เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการระเบิดบนผิวของดวงอาทิตย์ การระเบิดจ้ามักเกิด ณ บริเวณที่เป็นจุด ซึ่งดวงอาทิตย์จะเกิดจุดมากที่สุดทุกๆ ประมาณ 11 ปี ช่วงที่มีจุดมากจะมีการระเบิดจ้ามากด้วย ทำให้อนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนถูกปลดปล่อยจากดวงอาทิตย์ เป็นจำนวนมากกว่าปกติ เรียกว่า พายุสุริยะ
การระเบิดจ้ามีผลต่อโลก คือ การเกิดแสงเหนือ - แสงใต้ เกิดไฟฟ้าแรงสูงดับในประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลก เกิดการติดขัดทางการสื่อสารโดยเฉพาะวิทยุคลื่นสั้นทั่วโลก และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในดาวเทียมอาจถูกทำลาย
ตอบ เพราะว่า ดาวฤกษ์เกิดจากการยุบตัวของเนบิวลาที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของเนบิวลาเอง ทำให้ที่แกนกลางของเนบิวลาที่ยุบตัวลงนี้ จะมีอุณหภูมิสูงกว่าที่ขอบนอก เมื่ออุณหภูมิแกนกลางสูงมากขึ้น เป็นหลายแสนองศาเซลเซียส เรียกช่วงนี้ว่า “ดาวฤกษ์ก่อนเกิด” (protostar) หลัง จากที่ดวงอาทิตย์เพิ่งกำเนิดขึ้นมาจะคงสภาพที่ใหญ่กว่าปัจจุบันเล็กน้อย อุณหภูมิที่แกนกลางสูงขึ้นไปถึง 15 ล้านเคลวิน และปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ได้เริ่มต้นขึ้น หลอมนิวเคลียสไฮโดรเจนเป็นนิวเคลียสฮีเลียม เมื่อเกิดความสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงกับแรงดันของแก๊สร้อน ทำให้ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์สมบูรณ์ จึงกล่าวได้ว่า ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์รุ่นหลัง
2.ดวงอาทิตย์เกิดขึ้นได้อย่างไร และจะมีวิวัฒนาการอย่างไร
ตอบ ดวงอาทิตย์เกิดจากการยุบตัวของเนบิวลา ซึ่งการยุบตัวนี้เกิดจากแรงโน้มถ่วงของเนบิวลาเอง เมื่อแก๊สยุบตัวลง ความดันของแก๊สจะสูงขึ้น ผลที่ตามมา คือ อุณหภูมิของแก๊สจะสูงขึ้นที่บริเวณแกนกลางเป็นหลายแสนองศาเซลเซียส เรียกช่วงนี้ว่า “ดาวฤกษ์ก่อนเกิด” เมื่อแรงโน้มถ่วงถึงให้แก๊สยุบตัวลงไปอีก อุณหภูมิสูงขึ้นเป็น 15 ล้านเคลวิน ซึ่งเป็นอุณหภูมิสูงมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ (thermonuclear reaction) หลอม นิวเคลียสไฮโดรเจนเป็นนิวเคลียสฮีเลียม เมื่อเกิดความสมดุลระหว่างแรงโน้มถ่วงกับแรงดันของแก๊สร้อนจะทำให้ดวง อาทิตย์มีความสมบูรณ์ขึ้น
วิวัฒนาการ ของดวงอาทิตย์มีดังนี้ คือ เมื่อธาตุไฮโดรเจนที่ใช้เป็นเชื้อเพลงเหลือน้อย แรงโน้มถ่วง เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์สูงกว่าแรงดัน ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นมากกว่าเดิมเป็น 100 ล้านเคลวิน จนเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์หลอมรวมนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมเป็น นิวเคลียสของคาร์บอน ในขณะเดียวกันไฮโดรเจนที่อยู่รอบนอกแกนฮีเลียม มีอุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านเคลวิน จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์หลอมไฮโดรเจนเป็นฮีเลียมครั้งใหม่ได้ พลังงานออกมาอย่างมหาศาล ทำให้ดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็น 100 เท่าของขนาดปัจจุบัน เมื่อผิวด้านนอกขยายตัว อุณหภูมิผิวจะลดลง สีจะเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีแดง เรียกว่า ดาวยักษ์แดง ซึ่งมีชีวิตค่อนข้างสั้น ที่แกนกลางของดวงอาทิตย์ซึ่งอยู่ในสภาพดาวยักษ์แดง ในช่วงท้ายของชีวิตจะไม่เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ที่หลอมฮีเลียมเป็น คาร์บอนอีกต่อไป แรงโน้มถ่วงจะทำให้แกนกลางของดาวยักษ์แดงยุบตัวลง กลายเป็นดาวแคระขาว ขณะเดียวกันกับที่แกนกลางเกิดการยุบตัว มวลของผิวดาวรอบนอกไม่ได้ยุบเข้ามารวมด้วย จึงมีชั้นของแก๊สหุ้มอยู่รอบ เกิดเป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ ซึ่งจะเคลื่อนห่างออกไปจากดาวแคระขาว กระจายออกไปในอวกาศ
3.เพราะเหตุใดโลก ดาวศุกร์ ดาวอังคาร และดาวพุธ จึงถูกจัดเป็นดาวเคราะห์หิน และเกิดได้อย่างไร
ตอบ เพราะโลก ดาวศุกร์ ดาวอังคาร และดาวพุธ ต่างเป็นดาวเคราะห์ ที่มีพื้นผิวเป็นพื้นหินแข็งชัดเจน ดาวเคราะห์หินเกิดจากตอนที่ดาวเคราะห์เพิ่งกำเนิดขึ้นเมื่อ 4,600 ล้านปีมาแล้ว มีภูเขาน้ำแข็งและก้อนหินจำนวนมากที่เหลือจากการสร้างดวงอาทิตย์อยู่ใน บริเวณที่เป็นดาวเคราะห์หินในปัจจุบัน ต่อมาอีก 500 ล้านปี วัตถุก้อนใหญ่ก็ดึงก้อนเล็กเข้าหา เกิดการชนกันพอกพูนจนใหญ่โตขึ้น เศษที่เหลืออยู่มีจำนวนน้อยลง ขณะเดียวกันวัตถุที่ระเหยง่ายหรือเบา เช่น น้ำและไฮโดรเจน ก็ถูกพลังงานจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ผลักดันให้ออกไปอยู่ที่ชั้นนอกของระบบสุริยะ ดังนั้น ดาวเคราะห์ชั้นในจึงเป็นหิน
4.เพราะเหตุใดดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน จึงถูกจัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส และเกิดได้อย่างไร
ตอบ เพราะ มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สไฮโดรเจนหรือแก๊สแอมโมเนียและมีเทน ไม่มีพื้นผิวดาวชัดเจน ภายในดาวเคราะห์ยักษ์ เป็นแก๊สความดันสูงหรือแก๊สเหลว ซึ่งมักมีอุณหภูมิและความดันสูงมาก มีขนาดใหญ่ ดาวเคราะห์ยักษ์เกิดขึ้นเนื่องจากในขณะที่ระบบสุริยะกำลังเกิดขึ้นนั้น ดาวเคราะห์ยักษ์ขยายใหญ่ขึ้นมากกว่าดาวเคราะห์หิน ซึ่งอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ เพราะอยู่ในบริเวณที่เย็นกว่า ก้อนสารที่รวมกันอยู่ชั้นนอกของระบบสุริยะรวมถึงก้อนน้ำแข็งสกปรกและแก๊สที่ แข็งตัว เป็นส่วนหนึ่งของดาวเคราะห์ยักษ์ด้วย เมื่อเข้าไปใกล้ดวงอาทิตย์ ความร้อนจากดวงอาทิตย์จะทำให้สารที่ระเหยง่าย เช่น น้ำ ระเหยออกจากดาวเคราะห์ชั้นใน เหลือแต่ส่วนที่เป็นหินแข็งและโลหะ เมื่อวัตถุที่เป็นของแข็งในตอนเริ่มต้นมีขนาดใหญ่กว่าแรงโน้มถ่วงที่สูงของ ดาวที่กำลังโตขึ้น จึงดึงดูดเอาแก๊สจำนวนมากไว้เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของดาวเคราะห์ ทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นดาวเคราะห์ยักษ์
5.ดาวเคราะห์น้อยและดาวหาง อยู่บริเวณใดของระบบสุริยะ และเกิดได้อย่างไร
ตอบ ดาวเคราะห์น้อย จะโคจรอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ในระบบสุริยะ ดาวหางอยู่รอบนอกของระบบสุริยะ
ดาว เคราะห์น้อยเกิดจากเศษที่เหลือจากการพอกพูนของดาวเคราะห์หิน ถูกแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีขนาดใหญ่และเกิดมาก่อน ทำให้มวลสารในบริเวณแถบของดาวเคราะห์น้อยจับตัวกันมีขนาดใหญ่ไม่ได้ จึงปรากฏมีแต่ดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็กๆ จำนวนมาก
ดาว หาง เกิดจากเศษเหลือจากดาวเคราะห์ยักษ์ที่ประกอบด้วยก้อนน้ำแข็งและแก๊สแข็งตัว หลายชนิด รวมทั้งฝุ่นที่ปะปนอยู่ เมื่อก้อนน้ำแข็งนี้เข้าใกล้ดวงอาทิตย์จะได้รับรังสี ทำให้เกิดการระเหิดของวัตถุบางส่วน เกิดการพุ่งกระจายของธุลี และแก๊สออกมาจากนิวเคลียสหรือแกน เป็นส่วนหัวของดาวหางและส่วนหาง
6.การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์คืออะไร มีผลกระทบต่อโลกหรือไม่ อย่างไร
ตอบ ปรากฏการณ์การระเบิดจ้าบนดวงอาทิตย์ (Solar Flare) เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการระเบิดบนผิวของดวงอาทิตย์ การระเบิดจ้ามักเกิด ณ บริเวณที่เป็นจุด ซึ่งดวงอาทิตย์จะเกิดจุดมากที่สุดทุกๆ ประมาณ 11 ปี ช่วงที่มีจุดมากจะมีการระเบิดจ้ามากด้วย ทำให้อนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนถูกปลดปล่อยจากดวงอาทิตย์ เป็นจำนวนมากกว่าปกติ เรียกว่า พายุสุริยะ
การระเบิดจ้ามีผลต่อโลก คือ การเกิดแสงเหนือ - แสงใต้ เกิดไฟฟ้าแรงสูงดับในประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลก เกิดการติดขัดทางการสื่อสารโดยเฉพาะวิทยุคลื่นสั้นทั่วโลก และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในดาวเทียมอาจถูกทำลาย
แบบฝึกหัดดาราศาสตร์บทที่ 6
1. ดาวฤกษ์แต่ละดวงมีความเหมือนและความแตกต่างกันในเรื่องใดบ้าง
ตอบ ดาวฤกษ์แต่ละดวงมีความเหมือนกันอยู่ 2 อย่าง คือ
1) มีพลังงานในตัวเอง
2) เป็นแหล่งกำเนิดธาตุต่างๆ เช่น ธาตุฮีเลียม ลิเทียม และเบริลเลียม
ดาวฤกษ์แต่ละดวงมีความแตกต่างกันดังนี้ คือ มวล อุณหภูมิผิว สี อายุ องค์ประกอบทางเคมี
ขนาด ระยะห่าง ความสว่าง ระบบดาว และการวิวัฒนาการ
2. หลุมดำคืออะไร ต่างจากดาวนิวตรอนอย่างไร
ตอบ หลุมดำ (Black hole) คือ บริเวณในอวกาศที่มีแรงโน้มถ่วงสูง ไม่มีอะไรออกจากบริเวณนี้ได้แม้
แต่แสงสว่าง ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที ก็ออกจากหลุมดำไม่ได้ เมื่อ
ไม่มีแสงออกมาหลุมดำจึงมืด
หลุมดำอาจแบ่งได้เป็นสามจำพวกใหญ่ๆ คือ
1. หลุมดำที่เกิดจากดาวฤกษ์ตายแล้ว เมื่อดาวฤกษ์ที่มวลมากๆ ถึงคราวหมดอายุขัย
จะเกิดการระเบิดเป็น ซูเปอร์โนวา หากหลังการระเบิดยังหลงเหลือมวลสารที่ใจกลาง
ของดาวมากกว่า 3 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ มวลสารใจกลางดาวนั้นจะยุบตัวลงเป็น
หลุมดำ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์หลายแห่งในกาแล็กซีทางช้างเผือก
เช่น Cygnus X - 1 ในกลุ่มดาวหงส์ ก็เชื่อว่า เป็นหลุมดำชนิดนี้
2. หลุมดำยักษ์ หลุมดำจำพวกนี้จะมีมวลมากมายมหาศาล อาจมีมวลมากนับเป็น
หลายพันล้านเท่าของดวงอาทิตย์ ส่วนใหญ่จะพบอยู่ในใจกลางของกาแล็กซี
ขนาดใหญ่ๆ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ นักดาราศาสตร์พบหลุมดำชนิดนี้อยู่ตาม
กาแล็กซีขนาดใหญ่เป็นจำนวนมาก รวมทั้งกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราด้วย
3. หลุมดำจิ๋ว เป็นหลุมดำที่มีมวลเพียงไม่กี่ร้อยล้านตัน มีขนาดเล็กเพียงขนาดของอะตอม
เท่านั้น เกิดขึ้นหลังจากเกิด บิกแบง ได้ไม่นาน หลุมดำชนิดนี้จะมีอายุสั้นและจะสลายตัว
ด้วยการระเบิด ปลดปล่อยรังสีแกมมาออกมา หลุมดำจิ๋วนี้เป็นหลุมดำในทางทฤษฎี จนถึง
ขณะนี้ยังไม่มีการค้นพบอย่างเป็นทางการ
ดาวนิวตรอน (Neutron star) คือ ดาวซึ่งมีมวลอยู่ในช่วงระหว่าง 8 ถึง 18 เท่าของมวล
ดวงอาทิตย์ ซึ่งได้ยุบตัวลงเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของตัวเอง องค์ประกอบของดาวประกอบด้วย
นิวตรอนล้วนๆ ดาวนิวตรอนมีขนาดเล็กมาก มีเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงประมาณ 10 กิโลเมตร
และมีความหนาแน่นประมาณ 1017 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ดาวนิวตรอนสามารถตรวจพบได้
ในรูปของ พัลซาร์
3. เนบิวลาคืออะไร และเกี่ยวข้องกันกับดาวฤกษ์อย่างไร
ตอบ เนบิวลา คือ กลุ่มแก๊สและฝุ่นที่เกิดขึ้นในอวกาศภายในกาแล็กซี
เกี่ยวข้องกันกับดาวฤกษ์ คือ ดาวฤกษ์เกิดจากการยุบรวมตัวของเนบิวลา หรือกล่าวอีกอย่างว่า
เนบิวลา เป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์ทุกประเภท
4. ธาตุต่างๆ ในโลกและในตัวเรา เกิดจากที่ใด
ตอบ ธาตุต่างๆ ในโลกเกิดจากการระเบิดของกลุ่มแก๊สภายในดวงดาว เช่น การระเบิดภายในดาวฤกษ์
ที่มีความร้อนและความดันมหาศาล ที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา ทำให้เกิดธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม หรือ
ทองคำขึ้นได้ ธาตุต่างๆ ในตัวเราเกิดจากพืชสร้างอาหารขึ้นโดยวิธีสังเคราะห์แสง เมื่อเรารับ
ประทานพืชก็จะได้สารอาหารที่ทำให้เกิดธาตุต่างๆ ขึ้นภายในตัวเรา
5. ดาวฤกษ์ที่อยู่ในกลุ่มดาวฤกษ์เดียวกัน อยู่ห่างจากโลกเท่ากันหรือไม่
ตอบ ดาวฤกษ์ที่อยู่ในกลุ่มดาวฤกษ์เดียวกัน จะอยู่ห่างจากโลกเท่ากัน เพราะการกำหนดรูปร่าง
ของกลุ่มดาว จะถือเอาดาวฤกษ์ที่สว่างบางดวงในกลุ่มดาวแต่ละกลุ่มเป็นตัวกำหนด
ทำให้แพรัลแลกซ์หรือความเหลื่อมของมุมในกลุ่มดาวฤกษ์เท่ากัน จึงอยู่ห่างจากโลกเท่านั้น
6. ดาวตานกอินทรีมีโชติมาตร 0.76 ดาว ดาววีกาโชติมาตร 0.03 ดาวหางหงส์มีโชติมาตร 1.25
ดาวปากหงส์มีโชติมาตร 3.36 ตามลำดับ จงเรียงลำดับดาวที่สว่างมากที่สุดไปยังน้อยที่สุด
ตอบ ดาวปากหงษ์ ดาวหางหงส์ ดาวตานกอินทรี และดาววีกา
7. ดาววีมีแพรัลแลกซ์ 0.129 พิลิปดา ดาววีกาอยู่ห่างจากโลกกี่ปีแสง
ตอบ ประมาณ 25 ปีแสง
ตอบ ดาวฤกษ์แต่ละดวงมีความเหมือนกันอยู่ 2 อย่าง คือ
1) มีพลังงานในตัวเอง
2) เป็นแหล่งกำเนิดธาตุต่างๆ เช่น ธาตุฮีเลียม ลิเทียม และเบริลเลียม
ดาวฤกษ์แต่ละดวงมีความแตกต่างกันดังนี้ คือ มวล อุณหภูมิผิว สี อายุ องค์ประกอบทางเคมี
ขนาด ระยะห่าง ความสว่าง ระบบดาว และการวิวัฒนาการ
2. หลุมดำคืออะไร ต่างจากดาวนิวตรอนอย่างไร
ตอบ หลุมดำ (Black hole) คือ บริเวณในอวกาศที่มีแรงโน้มถ่วงสูง ไม่มีอะไรออกจากบริเวณนี้ได้แม้
แต่แสงสว่าง ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที ก็ออกจากหลุมดำไม่ได้ เมื่อ
ไม่มีแสงออกมาหลุมดำจึงมืด
หลุมดำอาจแบ่งได้เป็นสามจำพวกใหญ่ๆ คือ
1. หลุมดำที่เกิดจากดาวฤกษ์ตายแล้ว เมื่อดาวฤกษ์ที่มวลมากๆ ถึงคราวหมดอายุขัย
จะเกิดการระเบิดเป็น ซูเปอร์โนวา หากหลังการระเบิดยังหลงเหลือมวลสารที่ใจกลาง
ของดาวมากกว่า 3 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ มวลสารใจกลางดาวนั้นจะยุบตัวลงเป็น
หลุมดำ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดรังสีเอกซ์หลายแห่งในกาแล็กซีทางช้างเผือก
เช่น Cygnus X - 1 ในกลุ่มดาวหงส์ ก็เชื่อว่า เป็นหลุมดำชนิดนี้
2. หลุมดำยักษ์ หลุมดำจำพวกนี้จะมีมวลมากมายมหาศาล อาจมีมวลมากนับเป็น
หลายพันล้านเท่าของดวงอาทิตย์ ส่วนใหญ่จะพบอยู่ในใจกลางของกาแล็กซี
ขนาดใหญ่ๆ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ นักดาราศาสตร์พบหลุมดำชนิดนี้อยู่ตาม
กาแล็กซีขนาดใหญ่เป็นจำนวนมาก รวมทั้งกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราด้วย
3. หลุมดำจิ๋ว เป็นหลุมดำที่มีมวลเพียงไม่กี่ร้อยล้านตัน มีขนาดเล็กเพียงขนาดของอะตอม
เท่านั้น เกิดขึ้นหลังจากเกิด บิกแบง ได้ไม่นาน หลุมดำชนิดนี้จะมีอายุสั้นและจะสลายตัว
ด้วยการระเบิด ปลดปล่อยรังสีแกมมาออกมา หลุมดำจิ๋วนี้เป็นหลุมดำในทางทฤษฎี จนถึง
ขณะนี้ยังไม่มีการค้นพบอย่างเป็นทางการ
ดาวนิวตรอน (Neutron star) คือ ดาวซึ่งมีมวลอยู่ในช่วงระหว่าง 8 ถึง 18 เท่าของมวล
ดวงอาทิตย์ ซึ่งได้ยุบตัวลงเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของตัวเอง องค์ประกอบของดาวประกอบด้วย
นิวตรอนล้วนๆ ดาวนิวตรอนมีขนาดเล็กมาก มีเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงประมาณ 10 กิโลเมตร
และมีความหนาแน่นประมาณ 1017 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ดาวนิวตรอนสามารถตรวจพบได้
ในรูปของ พัลซาร์
3. เนบิวลาคืออะไร และเกี่ยวข้องกันกับดาวฤกษ์อย่างไร
ตอบ เนบิวลา คือ กลุ่มแก๊สและฝุ่นที่เกิดขึ้นในอวกาศภายในกาแล็กซี
เกี่ยวข้องกันกับดาวฤกษ์ คือ ดาวฤกษ์เกิดจากการยุบรวมตัวของเนบิวลา หรือกล่าวอีกอย่างว่า
เนบิวลา เป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์ทุกประเภท
4. ธาตุต่างๆ ในโลกและในตัวเรา เกิดจากที่ใด
ตอบ ธาตุต่างๆ ในโลกเกิดจากการระเบิดของกลุ่มแก๊สภายในดวงดาว เช่น การระเบิดภายในดาวฤกษ์
ที่มีความร้อนและความดันมหาศาล ที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา ทำให้เกิดธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม หรือ
ทองคำขึ้นได้ ธาตุต่างๆ ในตัวเราเกิดจากพืชสร้างอาหารขึ้นโดยวิธีสังเคราะห์แสง เมื่อเรารับ
ประทานพืชก็จะได้สารอาหารที่ทำให้เกิดธาตุต่างๆ ขึ้นภายในตัวเรา
5. ดาวฤกษ์ที่อยู่ในกลุ่มดาวฤกษ์เดียวกัน อยู่ห่างจากโลกเท่ากันหรือไม่
ตอบ ดาวฤกษ์ที่อยู่ในกลุ่มดาวฤกษ์เดียวกัน จะอยู่ห่างจากโลกเท่ากัน เพราะการกำหนดรูปร่าง
ของกลุ่มดาว จะถือเอาดาวฤกษ์ที่สว่างบางดวงในกลุ่มดาวแต่ละกลุ่มเป็นตัวกำหนด
ทำให้แพรัลแลกซ์หรือความเหลื่อมของมุมในกลุ่มดาวฤกษ์เท่ากัน จึงอยู่ห่างจากโลกเท่านั้น
6. ดาวตานกอินทรีมีโชติมาตร 0.76 ดาว ดาววีกาโชติมาตร 0.03 ดาวหางหงส์มีโชติมาตร 1.25
ดาวปากหงส์มีโชติมาตร 3.36 ตามลำดับ จงเรียงลำดับดาวที่สว่างมากที่สุดไปยังน้อยที่สุด
ตอบ ดาวปากหงษ์ ดาวหางหงส์ ดาวตานกอินทรี และดาววีกา
7. ดาววีมีแพรัลแลกซ์ 0.129 พิลิปดา ดาววีกาอยู่ห่างจากโลกกี่ปีแสง
ตอบ ประมาณ 25 ปีแสง
แบบฝึกหัดดาราศาสตร์บทที่ 5
1. เพราะเหตุใด นักดาราศาสตร์ส่วนใหญ่จึงเห็นด้วยกับทฤษฎีบิกแบง ที่ใช้อธิบายกำเนิดเอกภพ
ตอบ ทฤษฎีบิกแบงมีหลักฐานหรือปรากฏการณ์ที่สนับสนุนอยู่ 2 อย่าง
1) การขยายตัวของเอกภพ
2) อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ ปัจจุบันลดลงเหลือ 2 - 73 เคลวิน
จากหลักฐานทั้ง 2 ข้อ จึงทำให้นักดาราศาสตร์เห็นด้วยกับทฤษฎีบิกแบง
2. ธาตุอะไรมีมากที่สุดในเอกภพ
ตอบ ธาตุที่มีมากที่สุดในเอกภพคือ ธาตุไฮโดรเจน
3. เอกภพประกอบด้วยระบบอะไรบ้าง
ตอบ เอกภพประกอบด้วยระบบสุริยะและระบบกาแล็กซี
4. เอกภพเมื่ออายุประมาณ 300,000 ปี มีธาตุอะไรบ้างเป็นองค์ประกอบสำคัญ
ตอบ ธาตุไฮโดรเจน และธาตุฮีเลียม
5. หลักฐานใดที่แสดงว่าเอกภพกำลังขยายตัวอยู่ในปัจจุบัน
ตอบ ค.ศ. 1920 เอ็ดวิน ฮับเบิล ได้ใช้ข้อมูลจากการสังเกตกาแล็กซีต่างๆ จำนวนมากพบว่ากาแล็กซี
เหล่านั้นเกิดปรากฏการณ์เลื่อนทางแดงของเส้นสเปกตรัม จากความรู้ทางฟิสิกส์พื้นฐานของนัก
วิทยาศาสตร์ทราบดีว่า เมื่อพบปรากฏการณ์เลื่อนทางแดงของวัตถุท้องฟ้าใด แสดงว่าวัตถุนั้นกำลัง
เคลื่อนที่ถอยหางออกจากผู้สังเกตบนโลก
6. กฎฮับเบิลมีว่าอย่างไร
ตอบ
= H0d
= ความเร็วในการถอยห่างของกาแล็กซี
H0 = ค่าคงที่ของฮับเบิล
= 71 km/s/Mpc
d = ระยะทางถึงกาแล็กซี
7. ถ้าค่าแล้วเอกภพจะมีอายุและรัศมีประมาณเท่าใด
ตอบ ประมาณ 13,000 ล้านปี
8. คลื่นไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศสนับสนุนทฤษฎีบิกแบงอย่างไร
ตอบ เพราะเป็นคลื่นไมโครเวฟที่หลงเหลืออยู่หลังจากการระเบิดออกของวัตถุความร้อน
มหาศาล (ช่วง Big-Bang) หากไม่มี Big-Bang ก็จะไม่ตรวจพบคลื่นนี้ แต่บังเอิญตรวจพบ
(บังเอิญพบโดยนักวิทยาศาสตร์สมัครเล่น) จึงกล่าวได้ว่า เมื่อนานมาแล้ว เกิด Big-Bang
ให้เอกภพกำเนิดขึ้นมา
9. กาแล็กซีคืออะไร และมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ กาแลคซี (Galaxy) ซึ่งประกอบด้วย ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ อุกกาบาต ฝุ่นผงและ แก็สในอวกาศ
กาแลคซีเมื่อแบ่งโดยใช้รูปร่างเป็นเกณฑ์แบ่งออก 4 ประเภท คือ
1. กาแล็กซี่รูปวงกลมรี
2. กาแล็กซีรูปก้นหอย
3. กาแล็กซีรูปก้นหอยคาน
4. กาแล็กซีไร้รูปร่าง
10. กาแล็กซีทางช้างเผือกมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง คิดเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร
ตอบ 1 ปีแสง คิดเป็นระยะทางประมาณ = 9.5 × 10^12 กิโลเมตร
10^5 ปีแสง คิดเป็นระยะทางประมาณ = 9.5 × 10^12 × 10^ 5 กิโลเมตร
ดังนั้น คิดเป็นระยะทาง = 9.5 × 10^17 กิโลเมตร
11.ทางช้างเผือกกับกาแล็กซีทางช้างเผือก เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร
ตอบ ทางช้างเผือก เกิดจากดาวฤกษ์หลายหมื่นล้านดวงที่มาอยู่รวมกัน เห็นเป็นแนวฝ้าขาวจางๆ
ขนาดกว้างประมาณ 15๐ พาดผ่านเป็นทางยาวรอบท้องฟ้า
กาแล็กซี ทางช้างเผือก ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 200,000 ล้านดวงและเมฆฝุ่นกับแก๊ส
ที่เรียกว่า เนบิวลา รวมทั้งระบบสุริยะ ทางช้างเผือกเป็นส่วนหนึ่งของกาแล็กซี
ทางช้างเผือก
12.กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่แตกต่างจากกาแล็กซีแอนโครเมดาอย่างไรบ้าง
ตอบ - กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ จะโคจรรอบทางช้างเผือกที่ระยะห่างประมาณ 200,000 ปีแสง เป็น
กาแล็กซีแบบไร้รูปทรงหรือมีรูปร่างไม่แน่นอน มีความสว่างมากจนสามารถมองเห็นได้คล้ายกับ
ก้อนเมฆในยามค่ำคืน อยู่ใกล้ขอบฟ้าทิศใต้ เป็นกาแล็กซีที่อยู่ใกล้เราที่สุด
- กาแล็กซีแอนโดรเมดา มองเห็นอยู่ในบริเวณท้องฟ้าทางเหนือ มีรูปร่างแบบกังหัน เหมือน
กาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดาอยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราไกล
ประมาณ 2 ล้านปีแสง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า M31 หรือ NGC 224
ตอบ ทฤษฎีบิกแบงมีหลักฐานหรือปรากฏการณ์ที่สนับสนุนอยู่ 2 อย่าง
1) การขยายตัวของเอกภพ
2) อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพ ปัจจุบันลดลงเหลือ 2 - 73 เคลวิน
จากหลักฐานทั้ง 2 ข้อ จึงทำให้นักดาราศาสตร์เห็นด้วยกับทฤษฎีบิกแบง
2. ธาตุอะไรมีมากที่สุดในเอกภพ
ตอบ ธาตุที่มีมากที่สุดในเอกภพคือ ธาตุไฮโดรเจน
3. เอกภพประกอบด้วยระบบอะไรบ้าง
ตอบ เอกภพประกอบด้วยระบบสุริยะและระบบกาแล็กซี
4. เอกภพเมื่ออายุประมาณ 300,000 ปี มีธาตุอะไรบ้างเป็นองค์ประกอบสำคัญ
ตอบ ธาตุไฮโดรเจน และธาตุฮีเลียม
5. หลักฐานใดที่แสดงว่าเอกภพกำลังขยายตัวอยู่ในปัจจุบัน
ตอบ ค.ศ. 1920 เอ็ดวิน ฮับเบิล ได้ใช้ข้อมูลจากการสังเกตกาแล็กซีต่างๆ จำนวนมากพบว่ากาแล็กซี
เหล่านั้นเกิดปรากฏการณ์เลื่อนทางแดงของเส้นสเปกตรัม จากความรู้ทางฟิสิกส์พื้นฐานของนัก
วิทยาศาสตร์ทราบดีว่า เมื่อพบปรากฏการณ์เลื่อนทางแดงของวัตถุท้องฟ้าใด แสดงว่าวัตถุนั้นกำลัง
เคลื่อนที่ถอยหางออกจากผู้สังเกตบนโลก
6. กฎฮับเบิลมีว่าอย่างไร
ตอบ
= H0d
= ความเร็วในการถอยห่างของกาแล็กซี
H0 = ค่าคงที่ของฮับเบิล
= 71 km/s/Mpc
d = ระยะทางถึงกาแล็กซี
7. ถ้าค่าแล้วเอกภพจะมีอายุและรัศมีประมาณเท่าใด
ตอบ ประมาณ 13,000 ล้านปี
8. คลื่นไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศสนับสนุนทฤษฎีบิกแบงอย่างไร
ตอบ เพราะเป็นคลื่นไมโครเวฟที่หลงเหลืออยู่หลังจากการระเบิดออกของวัตถุความร้อน
มหาศาล (ช่วง Big-Bang) หากไม่มี Big-Bang ก็จะไม่ตรวจพบคลื่นนี้ แต่บังเอิญตรวจพบ
(บังเอิญพบโดยนักวิทยาศาสตร์สมัครเล่น) จึงกล่าวได้ว่า เมื่อนานมาแล้ว เกิด Big-Bang
ให้เอกภพกำเนิดขึ้นมา
9. กาแล็กซีคืออะไร และมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ กาแลคซี (Galaxy) ซึ่งประกอบด้วย ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ อุกกาบาต ฝุ่นผงและ แก็สในอวกาศ
กาแลคซีเมื่อแบ่งโดยใช้รูปร่างเป็นเกณฑ์แบ่งออก 4 ประเภท คือ
1. กาแล็กซี่รูปวงกลมรี
2. กาแล็กซีรูปก้นหอย
3. กาแล็กซีรูปก้นหอยคาน
4. กาแล็กซีไร้รูปร่าง
10. กาแล็กซีทางช้างเผือกมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง คิดเป็นระยะทางกี่กิโลเมตร
ตอบ 1 ปีแสง คิดเป็นระยะทางประมาณ = 9.5 × 10^12 กิโลเมตร
10^5 ปีแสง คิดเป็นระยะทางประมาณ = 9.5 × 10^12 × 10^ 5 กิโลเมตร
ดังนั้น คิดเป็นระยะทาง = 9.5 × 10^17 กิโลเมตร
11.ทางช้างเผือกกับกาแล็กซีทางช้างเผือก เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร
ตอบ ทางช้างเผือก เกิดจากดาวฤกษ์หลายหมื่นล้านดวงที่มาอยู่รวมกัน เห็นเป็นแนวฝ้าขาวจางๆ
ขนาดกว้างประมาณ 15๐ พาดผ่านเป็นทางยาวรอบท้องฟ้า
กาแล็กซี ทางช้างเผือก ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 200,000 ล้านดวงและเมฆฝุ่นกับแก๊ส
ที่เรียกว่า เนบิวลา รวมทั้งระบบสุริยะ ทางช้างเผือกเป็นส่วนหนึ่งของกาแล็กซี
ทางช้างเผือก
12.กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่แตกต่างจากกาแล็กซีแอนโครเมดาอย่างไรบ้าง
ตอบ - กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ จะโคจรรอบทางช้างเผือกที่ระยะห่างประมาณ 200,000 ปีแสง เป็น
กาแล็กซีแบบไร้รูปทรงหรือมีรูปร่างไม่แน่นอน มีความสว่างมากจนสามารถมองเห็นได้คล้ายกับ
ก้อนเมฆในยามค่ำคืน อยู่ใกล้ขอบฟ้าทิศใต้ เป็นกาแล็กซีที่อยู่ใกล้เราที่สุด
- กาแล็กซีแอนโดรเมดา มองเห็นอยู่ในบริเวณท้องฟ้าทางเหนือ มีรูปร่างแบบกังหัน เหมือน
กาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีแอนโดรเมดาอยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราไกล
ประมาณ 2 ล้านปีแสง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า M31 หรือ NGC 224
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554
พบเควซาร์ที่ไกลที่สุด
นักดาราศาสตร์นานาชาติคณะหนึ่ง ได้พบหลุมดำยักษ์ที่อยู่ไกลจากโลกมากที่สุดเท่าที่เคยมีการค้นพบกันมา หลุมดำที่พบนี้อยู่รูปของเควซาร์ที่ส่องสว่างจากแก๊สที่ไหลพรั่งพรูลงสู่หลุมดำ
วัดวันบนเนปจูน
ดาวเนปจูนถูกค้นพบมาตั้งแต่
วันเสาร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
ช็อค "ITU" ยึดวงโคจรดาวเทียมไทย พ.ย. 54นี้
ไทยกำลังจะถูกสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) (ความรู้เพิ่มเติมITU) ยึดวงจร
ดาวเทียม แม้กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร ก้มลงคุกเข่าอ้อนวอนน้ำตาเป็นสายเลือด ITU ก็ประกาศเฉียบขาดไม่ยอม...อีกแค่ 4 เเดือน ข้างหน้า สิ้นเดือนพฤศจิกายนที่จะถึงวงจรดาวเทียมไทยที่ระยะ 120 องศา ถูกยึดแน่นอน...นอกจากไทยต้องยิงดาวเทียมเข้าสู่ตำแหน่งนั้น หรือจะทำอย่างไรก็ได้ ต้องมีดาวเทียมในตำแหน่งนั้นให้ได้...ก่อนจะถึงเส้นตาย
ดาวเทียม แม้กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร ก้มลงคุกเข่าอ้อนวอนน้ำตาเป็นสายเลือด ITU ก็ประกาศเฉียบขาดไม่ยอม...อีกแค่ 4 เเดือน ข้างหน้า สิ้นเดือนพฤศจิกายนที่จะถึงวงจรดาวเทียมไทยที่ระยะ 120 องศา ถูกยึดแน่นอน...นอกจากไทยต้องยิงดาวเทียมเข้าสู่ตำแหน่งนั้น หรือจะทำอย่างไรก็ได้ ต้องมีดาวเทียมในตำแหน่งนั้นให้ได้...ก่อนจะถึงเส้นตาย
วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
ซูเปอร์โนวาแบบใหม่ สว่างกว่าแบบอื่น 10 เท่า
นักดาราศาสตร์จากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย ได้ค้นพบซูเปอร์โนวาชนิดใหม่ ที่มีความสว่างกว่าซูเปอร์โนวาทั่วไปถึง 10 เท่า
วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
แมลงสาบต้นเหตุทำให้โลกร้อน
ข้อมูล นี้เป็นเรื่องจริง จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าแมลงสาบผายลมออกมาเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เฉลี่ยทุก 15 นาที หลังจากมันตายมันก็ปล่อยก๊าซมีเทนถึง 18 ชั่วโมง จากสถิตพบว่าผายลมที่แมลงปล่อยมีมากถึง 20 % ของการปล่อยก๊าซมีเทนทั้งหมดในโลก ด้วยเหตุนี้ทำให้แมลงสาบขึ้นบัญชีดำว่าเป็นตัวการใหญ่ที่ทำให้เกิดโลกร้อน อย่างแท้จริง(นอกจากนี้ยังมีตัวการอีกชนิดคือปลวก ซึ่งปลวกทุกตัวจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกมา เพราะการกัดกินไม้ทำให้เกิดก๊าซขึ้นในกระเพาะ มันจึง ผายลมออกมา)
ที่มา
- 10 อันดับ ความจริงของแมลงสาบ-Toptenthailand
Mesosphere มีโซสเฟียร์
The mesosphere refers to the mantle in the region between the asthenosphere and the outer core. The upper boundary is defined as the sharp increase in seismic wave velocities and density at a depth of 660 km As depth increases, pressure builds and forces atoms into a denser, more rigid structure; thus the difference between mesosphere and asthenosphere is likely due to density and rigidity differences, that is, physical factors, and not to any difference in chemical composition. At a depth of 660 km, ringwoodite (gamma-(Mg,Fe)2SiO4) decomposes into Mg-Si perovskite and magnesiowustite. This reaction marks the boundary between upper mantle and lower mantle. This measurement is estimated from seismic data and high pressure laboratory experiments.
Asthenosphere ฐานธรณีภาค
The asthenosphere (from Greek asthenēs 'weak' + sphere) is the highly viscous mechanically weak ductilely-deforming region of the upper mantle of the Earth. It lies below the lithosphere, at depths between 100 and 200 km (~ 62 and 124 miles) below the surface, but perhaps extending as deep as 700 km (~ 435 miles).
Lithosphere ธรณีภาค
The lithosphere is the rigid outermost shell of a rocky planet. On Earth, it comprises the crust and the portion of the upper mantle that behaves elastically on time scales of thousands of years or greater.
วันพุธที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2554
ส่งเรือน้อยลอยทะเลไททัน
นักวิทยาศาสตร์เคยส่งยานอวกาศไปสำรวจดาวเคราะห์และดวงจันทร์ของดาวเคราะห์มามากหมายหลายดวงด้วยภารกิจหลากรูปแบบ ไม่ว่าเป็นวิธีโคจรรอบ พุ่งเฉียด ลงจอด พุ่งชน ยิงลูกตุ้มเข้าใส่ ส่งหัววัดกางร่มชูชีพลงไป ส่งรถลงไปวิ่ง คราวนี้ลองส่งเรือไปแล่นบ้างเป็นไร
ดาวแปลกพวกสีน้ำเงินในใจกลางทางช้างเผือก
นักวิทยาศาสตร์ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลค้นพบดาวแปลกพวกสีน้ำเงินอยู่บริเวณใจกลางดาราจักรทางช้างเผือกเป็นครั้งแรก
วันอังคารที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554
Secondary waves
A type of seismic wave, the S-wave, secondary wave, or shear wave (sometimes called an elastic S-wave) is one of the two main types of elastic body waves, so named because they move through the body of an object, unlike surface waves.
Primary Waves
วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2554
ชื่อกลุ่มดาวไทย ฉบับพจนานุกรมของสมาคมดาราศาสตร์ไทย
ไม่มีใครในแวดวงดาราศาสตร์ไม่รู้จักกลุ่มดาว นักดูดาวก็เริ่มต้นด้วยการดูกลุ่มดาว นักดูดาวมือฉมังก็ต้องรู้จักกลุ่มดาวเพื่อใช้ในการบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าอย่างคร่าว ๆ นักดาราศาสตร์ก็ใช้กลุ่มดาวซึ่งมีการกำหนดขอบเขตอย่างชัดเจนในการอ้างอิงถึงพื้นที่บนผืนฟ้า
เรื่องจริงของพายุสุริยะ
แทบทุกครั้งที่เวลาผ่านมาถึงช่วงที่มีวันที่หรือเลขปีสวย ๆ ดูเหมือนจะต้องเกิดกระแส "โลกแตก" ขึ้นเสมอ ๆ ในช่วงใกล้ปี พ.ศ. 2543 หรือ ค.ศ. 2000 อย่างในตอนนี้ก็เช่นกัน มีข่าวลือสารพัดว่าในปี 2000 จะเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ นานา ไม่ว่าจะเป็นน้ำท่วมโลก โลกแตกตามคำทำนายของโหรชื่อดัง วาระสุดท้ายของโลกตามคำภีร์ แกรนครอส แกรนคอนจังก์ชัน ปัญหา Y2K ฯลฯ ข่าวที่ลือกันนี้ บางเรื่องก็มีส่วนจริงและชวนคิด และอีกหลายเรื่องก็เพ้อเจ้อถึงขั้นไร้สาระเลยทีเดียว
เมื่อใดที่ดวงอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะในประเทศไทย
ฤดูร้อนของประเทศไทยอยู่ในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม หลายคนอาจเข้าใจว่าประเทศไทยมีอากาศร้อนมากที่สุดในช่วงเดือนเมษายนเพราะดวงอาทิตย์ใกล้โลกที่สุด นั่นเป็นความเข้าใจที่ผิดถนัด แท้จริงแล้วสาเหตุมาจากการที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่านใกล้จุดเหนือศีรษะในเวลาเที่ยงวัน โดยทำมุมตั้งฉากกับพื้นดิน จึงได้รับรังสีความร้อนจากแสงอาทิตย์เต็มที่
วันอาทิตย์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2554
หมวดโลกแตก 2012
หมวดคำถามโลกแตกจริงๆนะเธอ ก็สารพันธ์ร้อยแปดคำถามเกี่ยวโลกแตกนี้ละ เกิดคำถามกันมากมายจนเว็บไซต์ของสมาคมดาราศาสตร์ตั้งขึ้นมาเป็นหมวดโลกแตก 2012 เลยแหละ แล้วตกลงโลกมันแตกจริงหรือเปล่านะติดตามได้ที่ หมวดโลกแตก 2012 จะได้รู้กันไปว่าโลกจะแตกจริงไหมจากข้อมูลของนักดาราศาสตร์
วันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2554
เปิด Google เหมือนซื้อดาวเทียม Hubble ไว้ดูดาว
ดาราศาสตร์ในสมัยก่อนก็คงจะเป็นเรื่องที่ไกลตัวไปสักหน่อยสำหรับคนงบน้อย เพราะจะดูดาวได้ดีก็ต้องใช้กล้องดูดาวซึ่งก็แพงใช้เล่นเลย จะไปท้องฟ้าจำลองแอร์เย็นสบายหลับเลยสะอย่างนั้น แล้วถ้าไปดูกันจริงๆก็รอกลางคืน แถมจะดูสวยก็ต้องขึ้นเขาอีก เสียเวลากับค่าเดินทางพอสมควร แต่ตอนนี้(นานแล้ว)อากู๋กูเกิลใจดีของเราได้นำเอาภาพบนท้องฟ้าที่ถ่ายจากดาวเทียมต่างๆ มาเรียงต่อกันแล้วเผยแพร่ให้พวกเราได้ดูกันเหมือนซื้อ Hubble ไว้นั่งส่องดาวเล่นกันเชียวแหละ
ดวงจันทร์บังดาว 51 คนแบกงู : 16 มิถุนายน 2554
ขณะเกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาในเช้ามืดวันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2554 ดวงจันทร์จะบังดาวฤกษ์หลายดวง ดวงที่สว่างที่สุดและเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีชื่อว่า "51 คนแบกงู" (51 Ophiuchi) หมายถึงดาวดวงที่ 51 ในกลุ่มดาวคนแบกงู ตามระบบการเรียกชื่อดาวแฟลมสตีด (Flamsteed)
ไม่ต้องมีดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ก็มีสิ่งมีชีวิตได้
สิ่งมีชีวิตบนโลก
พบดาวเคราะห์อิสระ ไม่โคจรรอบดาวฤกษ์
นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์คล้ายดาวพฤหัสบดีประเภทใหม่ลอยเคว้งคว้างอยู่ในอวกาศโดยไม่โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงใด เชื่อว่าดาวเคราะห์ประเภทนี้อาจมีมากกว่าดาวฤกษ์ถึงสองเท่า
"แม้ว่าดาวเคราะห์อิสระเป็นสิ่งที่นักดาราศาสตร์คาดคิดมานานแล้วว่ามีอยู่จริง จันทรุปราคาเต็มดวง : 16 มิถุนายน 2554
นานเกือบ 4 ปีมาแล้ว ที่ประเทศไทยไม่มีโอกาสได้เห็นจันทรุปราคาเต็มดวง ปีนี้เกิดจันทรุปราคาเต็มดวงขึ้น 2 ครั้ง ทั้งคู่สามารถเห็นได้ในประเทศไทย โดยครั้งแรกเกิดขึ้นในเวลากลางดึกของคืนวันพุธที่ 15 มิถุนายน 2554 (เข้าสู่เช้ามืดวันที่ 16 มิถุนายน) ครั้งที่ 2 ในคืนวันที่ 10 ธันวาคม 2554
วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
แบ่งจากการศึกษาความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน
ในการแบ่งวิธีนี้ นักวิทยาศาสตร์ได้ใช้การคลื่นไหวสะเทือนที่ผ่านโลก คลื่นที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ
คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เป็นคลื่นที่สถานีวัดแรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 8 กิโลเมตร/วินาที คลื่นปฐมภูมิทำให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน
คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิทำให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
จากการศึกษาคลื่นข้างต้นทำให้เราสามารถศึกษาและแบ่งโครงสร้างโลกออกเป็นชั้น 5 ชั้นได้แก่
ธรณีภาค (ศึกษาเพิ่มเติม)
ฐานธรณีภาค (ศึกษาเพิ่มเติม)
มีโซเฟียร์ (ศึกษาเพิ่มเติม)
แก่นโลกชั้นนอก (ศึกษาเพิ่มเติม)
แก่นโลกชั้นใน (ศึกษาเพิ่มเติม)
คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เป็นคลื่นที่สถานีวัดแรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 8 กิโลเมตร/วินาที คลื่นปฐมภูมิทำให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน
คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิทำให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
จากการศึกษาคลื่นข้างต้นทำให้เราสามารถศึกษาและแบ่งโครงสร้างโลกออกเป็นชั้น 5 ชั้นได้แก่
ธรณีภาค (ศึกษาเพิ่มเติม)
ฐานธรณีภาค (ศึกษาเพิ่มเติม)
มีโซเฟียร์ (ศึกษาเพิ่มเติม)
แก่นโลกชั้นนอก (ศึกษาเพิ่มเติม)
แก่นโลกชั้นใน (ศึกษาเพิ่มเติม)
การแบ่งโครงสร้างโลก
การแบ่งโครงสร้างของโลกมีอยู่หลายวิธี แต่นักวิทยาศาสตร์นิยมใช้มีอยู่ 2 ประเภทที่สำคัญคือ
แบ่งจากการศึกษาความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน
แบ่งจากการศึกษาส่วนประกอบทางเคมี
แบ่งจากการศึกษาความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน
แบ่งจากการศึกษาส่วนประกอบทางเคมี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)